The Definitive Guide to ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม

รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ : ผมคิดว่า กรณีของศรีลังกาไม่เหมือนกับต้มยำกุ้ง ที่ทำให้เกิดโดมิโน เพราะตอนนั้นต่างประเทศเห็นว่าไทยขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเยอะ มีเงินสำรองไม่พอ เจ้าหนี้รู้สึกไม่ไว้ใจ จึงนำไปสู่โดมิโน ด้วยมีปัจจัยที่สัมพันธ์กัน แต่ในกรณีของศรีลังกาไม่ใช่ครับ เพราะตอนนี้หลายประเทศก็ประสบปัญหาเดียวกัน ทั้งเรื่องพลังงาน อาหาร เงินเฟ้อ

ในห้องดูแลผู้ป่วยหนักหรือ ไอซียู ที่อยู่ถัดจากหอผู้ป่วยภาวะทุพโภชนาการ อุมเราะห์วัยหกเดือนกําลังต่อสู้กับโรคปอดบวมอย่างรุนแรง เธอร้องไห้เสียงดังขณะที่พยาบาลหยดน้ำเกลือเข้าสู่ร่างกายของเธอ นัสรีน แม่ของอุมเราะห์นั่งข้างเธอขณะเดียวกันน้ำตาไหลก็ลงมาบนใบหน้าของเธอ

ปัจจุบัน เมืองไหนส่อเค้าเป็น ประเทศล้มละลาย บ้าง?

สุดท้ายเราจะเห็นได้ว่า ปัจจัยที่นำไปสู่วิกฤตจนถึงขั้นที่ประเทศอยู่ในภาวะล้มละลายนั้นมีทั้งปัจจัยภายในไม่ว่าจะเป็นสภาพการเมืองและระบบการปกครองที่ไม่ได้เอื้อต่อเศรษฐกิจเหมือนเคสของอาร์เจนตินา หรือการใช้นโยบายที่ผิดพลาดของรัฐบาลแบบเวเนซุเอลาและศรีลังกา หรือความขัดแย้งภายในสังคมอย่างเลบานอน

เศรษฐกิจศรีลังกาพังทลาย หมดสิ้นแล้วทุกอย่าง นายกรัฐมนตรีรับเกินเยียวยา

ยูเครนเลือกสู้ให้ถึงที่สุด แต่หากแพ้สงคราม รัสเซียจะเป็นภัยคุกคามแห่งยุค

นโยบายของประกันสังคมหลาย ๆ ส่วนยังไม่ถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันของไทย อย่างด้านการลงทุน และเพดานเงินสมทบ

หรือเมืองไทยจะกลายเป็น ‘เซฟเฮาส์โลก’ ชาวเมียนมาแห่ซื้อคอนโดฯ ในไทย สะท้อนอะไร ?

We also use 3rd-party cookies that assist us evaluate and understand how you utilize this Web-site. These cookies might be stored within your browser only using your consent. You even have the choice to opt-out of these cookies. But opting from Many of these cookies may well affect your browsing expertise.

ตามหลักการที่ผมเสนอคือ จะต้องมีเจ้าพนักงานเข้ามาเป็นผู้ช่วย เพื่อให้ลูกหนี้เข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูหนี้สินได้ เช่น เข้ามาช่วยเรื่องการทำแผนฟื้นฟู ตลอดจนเป็นคนกลางที่จะประสานการประชุมระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้ เพื่อให้มีมติยอมรับแผนได้ ซึ่งเรามองว่ามีหลายหน่วยงานที่มีความพร้อมจะดำเนินการตรงนี้ได้ ถ้าหากว่ามีการเตรียมแผนที่ดี เช่น กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของกระทรวงยุติธรรม ธนาคารแห่งประเทศไทย องค์กรหรือมูลนิธิต่างๆ ที่มีวัตถุประสงค์ที่จะเข้ามาแก้ไขตรงนี้ ซึ่งผมมองว่าทั้งภาครัฐและภาคเอกชนสามารถร่วมมือกันสร้างกลุ่มเจ้าหน้าที่เหล่านี้ขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ในการวิเคราะห์แผนฟื้นฟูนี้ได้ ในสหรัฐอเมริกาเอง การที่คนกลางจะยื่นขอฟื้นฟูหนี้ต่อศาลได้ จะต้องผ่านการรับรองจากสำนักงานอัยการก่อน เพื่อให้บุคลากรในองค์กรเหล่านี้สามารถเป็นที่ปรึกษาแก่ลูกหนี้ได้ ไม่ใช่ว่าอยู่ดีๆ ให้ลูกหนี้ไปยื่นคำร้องขอฟื้นฟูเอง แต่ควรมีองค์กรกลางเข้ามาช่วยตรวจสอบและให้ความช่วยเหลือแก่ลูกหนี้ ก่อนที่จะยื่นคำร้องต่อศาล

นั่นจึงเป็นที่มาของหลักการเริ่มต้นชีวิตใหม่ หรือหลัก ‘contemporary begin’ แต่ก็ต้องทำความเข้าใจด้วยว่า ตามหลักสากลจะต้องไล่เลียงจากจุดแรกคือ เมื่อมีหนี้ก็ต้องชำระหนี้ ชำระหนี้ได้เท่าใดก็ต้องพยายามชำระหนี้ แต่ถ้าไม่ไหวก็จำเป็นต้องมีช่องทางให้ลูกหนี้หลุดพ้นเพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ เพราะไม่มีประโยชน์อีกต่อไปที่จะค้นหาทรัพย์สินหรือคุมขังลูกหนี้ไว้ ในเมื่อการตรวจสอบของทุกฝ่ายเห็นตรงกันว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินแล้ว ตรงนี้ก็คือหลักของการให้อภัย แนวคิดเช่นนี้เป็นแนวคิดของกระบวนการล้มละลายและการฟื้นฟูหนี้สินสมัยใหม่ที่มีงานวิจัยหลายๆ ส่วนระบุว่า การให้ลูกหนี้สมัครใจเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูหนี้สิน หรือแม้แต่เข้าสู่กระบวนการล้มละลาย สุดท้ายสังคมก็จะได้กิจการหรือบุคคลที่กลับมาเป็นฝ่ายผลิต เป็นผู้บริโภคอีกครั้ง ประเทศไทยมีโอกาสล้มละลายไหม เพราะฉะนั้นจึงขอยืนยันอีกครั้งว่า รูปแบบของการฟื้นฟูหนี้สินสำหรับบุคคลธรรมดาก็สามารถมีได้เช่นกัน

ร.บ.ล้มละลาย มีช่องโหว่ตรงไหนอีกบ้างที่ควรแก้ไขเพิ่มเติม

ศรีลังกาจึงถูกรุมเร้าทุกมิติทางด้านเศรษฐกิจ ทั้งเรื่องขาดแคลนอาหาร ความยากจน เศรษฐกิจย่อยยับ เงินเฟ้อมหาศาล แล้วก็เกิดวิกฤตทางสังคม และวิกฤตทางการเมืองตามมา

ร.บ.ล้มละลาย ไม่เพียงต้องการให้ความเป็นธรรมแก่ลูกหนี้รายย่อยหรือบุคคลธรรมดาเท่านั้น แต่ยังมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเป็นธรรมแก่เจ้าหนี้ด้วยเช่นกัน นั่นหมายความว่า หากกฎหมายล้มละลายได้รับการพิจารณาแก้ไข จะยังประโยชน์ให้แก่ผู้คนในสังคมโดยรวม บทสัมภาษณ์ถัดจากนี้มีหลายเหตุผลที่ทุกฝ่ายพึงรับฟัง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *